อาคารสถานีรถไฟห้างฉัตร แม่ทะ แม่จาง ปางป๋วย และแก่งหลวง
อาคารสถานีรถไฟห้างฉัตร แม่ทะ แม่จาง ปางป๋วย และแก่งหลวง
ที่ตั้ง สถานีรถไฟห้างฉัตร ตำบลห้างฉัตร อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
สถานีรถไฟแม่ทะ ตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
สถานีรถไฟแม่จาง ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
สถานีรถไฟปางป๋วย ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
สถานีรถไฟแก่งหลวง ตำบลแม่ปาน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ผู้ครอบครอง การรถไฟแห่งประเทศไทย
ปีที่สร้าง พ.ศ. 2457 - 2459
ปีที่ได้รับรางวัล พ.ศ. 2554
ประวัติ
อาคารสถานีรถไฟห้างฉัตร แม่ทะ แม่จาง ปางป๋วย และแก่งหลวง ถือเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น เนื่องจากได้รับการออกแบบที่สอดคล้องกับการใช้สอยและสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้นในประเทศไทย รวมทั้งความงามที่มีการผสมผสานระหว่างศิลปะแบบตะวันตกและพื้นถิ่นล้านนา และเป็นเพียง 5 อาคารสถานีรถไฟในประเทศไทยเท่านั้นที่มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมรูปแบบนี้ โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ดูแลรักษาอาคารสถานีรถไฟเหล่านี้ให้อยู่ในสภาพที่ดี และยังคงบทบาทสำคัญในการรองรับผู้โดยสารและการขนส่งสินค้า
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของอาคารสถานีรถไฟทั้ง 5 หลังนี้เป็นอาคารไม้ชั้นครึ่งตั้งอยู่บนตอม่อคอนกรีตและมีบางส่วนตั้งอยู่บนผนังก่ออิฐฉาบปูน อาคารมีผังพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นที่ใช้สอยประกอบด้วยที่ทำการนายสถานีซึ่งมีมุขเครื่องอาณัติสัญญาณอยู่ด้านหน้า โดยมุขเครื่องอาณัติสัญญาณนี้ได้รับการออกแบบโดยสถาปนิก นิจ หิรัญชีระนันท์ในปี พ.ศ. 2495 ยกเว้นอาคารสถานีรถไฟปางป๋วยที่ไม่ได้มีการต่อเติมมุขเครื่องอาณัติสัญญาณนี้ ส่วนท้ายของห้องที่ทำการนายสถานีมีบันไดคอนกรีตจำนวน 5 ขั้น สำหรับเดินขึ้นห้องนอนของนายสถานี ด้านหลังของห้องนอนของนายสถานีมีระเบียงไม้ส่วนพักคอยสำหรับผู้โดยสารอยู่ด้านข้างของที่ทำการนายสถานีและด้านหน้าของห้องนอนของนายสถานี สำหรับอาคารสถานีรถไฟเหล่านี้ไม่มีห้องน้ำภายในตัว หลังคาอาคารสถานีเป็นหลังคาจั่วมุงด้วยกระเบื้องลอนคู่ ประตูและหน้าต่างเป็นบานลูกฟักไม้ เหนือบานประตู หน้าต่าง ยอดจั่ว เชิงชาย ค้ำยัน และหน้าช่องจำหน่ายตั๋วประดับด้วยไม้ฉลุลายสวยงาม
ระหว่างวันที่ 7 – 21 เมษายน พ.ศ. 2553 กรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ได้จัดทำโครงการ ASA VERNADOC 2010 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุดจิต (เศวตจินดา) สนั่นไหว เป็นประธานโครงการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการสำรวจ รังวัด และเขียนแบบสภาพปัจจุบันของอาคารสถานีรถไฟนครลำปาง อาคารสถานีรถไฟบ้านปิน รวมทั้งอาคารสถานีรถไฟแม่ทะ สำหรับข้อมูลที่ได้จากการทำงานจะนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณะและการรถไฟแห่งประเทศไทย โดยมีความมุ่งหวังว่าอาคารสถานีรถไฟเหล่านี้จะได้รับการดูแลรักษาด้วยแนวทางที่เหมะสม เพื่อคงไว้เป็นมรดกทางสถาปัตยกรรมของประเทศไทยต่อไป
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่ทะ
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ แม่จาง
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
-
อาคารสถานีรถไฟ ห้างฉัตร
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
-
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
-
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
-
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
-
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
-
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
-
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
-
อาคารสถานีรถไฟ แก่งหลวง
Hang Chat, Mae Tha, Mae Chang, Pang Puai and Kaeng Luang Railway Station Buildings
Location Hang Chat Railway Station, Tambon Hang Chat, Amphoe Hang Chat, Lampang Province
Mae Tha Railway Station, Tambon Mae Tha, Amphoe Mae Tha , Lampang Province
Mae Jang Railway, Tambon Na Suk, Amphoe Mae Moh, Lampang Province
Pang Puey Railway Station, Tambon Na Suk, Amphoe Mae Moh, Lampang Province
Kaeng Luang Railway Station, Tambon Mae Pan, Amphoe Long, Prae Province
Proprietor State Railway of Thailand
Date of Construction 1914 – 1916
Conservation Awarded 2011
History
The railway stations of Hang Chat, Mae Tha, Mae Jang, Pang Puey and Kaeng Luang have a unique design because they were designed to conform to the hot and humid climate in the country. Their beauty is a combination of the western and local Lanna art styles. There are only 5 railway stations in Thailand that have the architecture in this style. The State Railway of Thailand has maintained the stations in good condition and continued providing services to passengers and cargo transportation.
The rectangular building has one and a half storey made of wood supportingwith concrete columns. There is an office with the signal porch in the front designed by an architect named Nich Hirunchiranun in 1952. Anyway, Pang Puay Railway Station does not have this signal porch. At the back of the office, there are the stairs leading to the bedroom upstairs of the station chief. The back of the bedroom has a wooden balcony. The waiting spaces for the passenger are at the side of the office and in front of the bedroom. The roof is covered with curved tiles. Above the doors, windows and space for selling tickets are decorated beautifully with wood carving.
From 7 - 21 April 2010, the Conservation Commission of Art Architecture Association of Siamese Architects under Royal Patronage has arranged the ASA Vernadoc 2010 Project of which the objective is for survey and drawing the current situation of Lampang Railway Station, Ban Pin Railway Station and Mae Tha Railway Station. The information from the survey will be distributed to the public and the State Railway of Thailand. It is hopeful that these railway stations will be maintained in an appropriate way as an architectural heritage of the country.