อาคารควรค่าแก่การอนุรักษ์

ค้นหา

หอประชุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ที่ตั้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ พระพรหมพิจิตร (อู๋ ลาภานนท์) และพระสาโรชรัตนนิมมานก์ 

ผู้ครอบครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

ปีที่สร้าง พ.ศ. 2481 - 2482

ปีที่ได้รับรางวัล พ.ศ. 2545 

ประวัติ 

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาปัตยกรรมไทยที่ประยุกต์ให้สอดคล้องกับการก่อสร้างด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ คือโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก รูปแบได้รับอิทธิพลจากพระอุโบสถวัดราชาธิวาส ซึ่งออกแบบโดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ 

การก่อสร้างอาคารหอประชุมนี้ริเริ่มโดยอธิการบดีในขณะนั่นคือ พันเอก พลวงพิบูลสงคราม เนื่องจากท่านเห็นว่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีนิสิตและมีกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น แต่ยังไม่มีอาคารหอประชุมเพื่อรองรับกิจกรรมเหล่านั้น ซึ่งสภามหาวิทยาลัยก็เห็นชอบ จึงได้ขอให้กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบหอประชุมดังกล่าว พระพรหมพิจิตรและพระสาโรชรัตรริมมานก์จึงได้รับมอบหมายให้ดำเนินการออกแบบ 

การก่อสร้างเริ่มในปี 2481 แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2182 ต่อมาใน พ.ศ. 2506 ได้มีการต่อเติมปีกออกไปสองข้างตัวอาคาร ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน  

Chulalongkorn University Conference Hall

 Location Chulalongkorn Unicersity, Phayathai Road, Khet Pathum Wan, Bangkok

 Architect/Designer Phra Phromphichit (U Laphanont) and Phra Sarotrattananimman

 Proprietor Chulalongkorn University

 Date of Construction 1938 - 1939 AD.

 Conservation Awarded 2002 AD.

 History

 Chulalongkorn University Conference Hall is a building of applied Thai style, which was designed to conform with new construction technique of those days, that is, reinforced concrete structure. The design was in fluenced by the Ubosatha at Wat Rachathiwat designed by Prince Krommaphraya Narisara Nuwattiwong.

The conference hall project was intiated by the University President, Colonel Luang Phibunsongkhram. The design was carried out by Phra Phromphichit (U Laphanont) and Phra Sarotrattananimman, architects of the Fine Arts Department. Construction began in 1938 and completed on 31st January 1939. Later in 1963, the hall was added with 2 wings on both sides as seen nowadays.